บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Provision for Early Childhood
วันที่ศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561
เวลา 8.30 - 12.30 น.
The khowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ สิ่งที่เด็กสามารถเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่รอบตัว ซึ่งทำให้มีความสดวกสบายมากขึ้น
ตัวอย่างเช่น การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต การผลิตยา เป็นต้น
1. ทักษะการสังเกต
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5หารายละเอียดของสิ่งนั้น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิมรส กานสัมผัส
เครื่องมือเก็บข้อมูลในลักษณะต่างๆ
- การสังเกตรูปร่างลักษณะและคุณสัมบัติทั่วไป
- การสังเกตควบคู่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ
- การสังเกตเพื่อรู้การเปลี่ยนแปลง
2. ความหมายทักษะการจะแนกประเภท ( Classifying )
หมายถึง ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
- ความเหมือน ( Similarities )
- ความแตกต่าง ( Differences )
- ความสัมพันธ์ร่วม ( Interrelationships )
3.ความหมายทักษะการวัด ( Measurement )
หมายถึง การใช้เครื่องมือต่างๆวัดหาปริมาณของสิ่งที่เราต้องการ โดยมีหน่วยการวัดกำกับ
- รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
- เลือกเครื่องมือวัด
- วิธีการที่จะวัด
4. ความหมายทักษะการสื่อความหมาย ( Cummunication )
หมายถึง การพูด เขียน รูปภาพ และภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า ความสามารถในการรับข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
- บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
- บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
- บอกความสัมพันธ์ของข้อมูล
- จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
5. ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ( Inferring )
หมายถึง การเพิ่มเติ่มความคิดเห็นข้อมูลที่มี อยุ่โดยอาศัยความรู้ประสบการณ์เดิม
- ลงข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
- ลงข้อสรุปความสัมพันธ์สิ่งต่างๆ
- สังเกตการเปลี่ยนแปลง
6. ความหมายทักษะการหาคว่มสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ( Space )
การเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ เขียนภาพ 2 มิติแทนรูป 3 มิติ บอกทิศทาง เงา จากภาพ 3 มิติ หาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
- บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
- บอกตำแหน่งทิศทางวัตถุ
- บอกตำแหน่งซ้าย ขวา ขอวภาพวัตถุจากกระจกเงา
7. ความหมายทักษะการคำนวณ
ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ บวก ลบ คูณ หาร บอกลักษณะต่างๆ ความกว้าง ยาว สูง พื้นที่ ปริมาตร น้ำหนัก
- การนับจำนวนวัตถุ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การนับจำนวนตัวเลข มากำหนด บอกลักษณะของวัตถุ
Skills (ทักษะ)
ใช้ทักษะการสอนความรู้พื้นฐาน ความหมาย หลักการ ทฤษฎีและการนำไปใช้ เห็นถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร์รู้หลักการวางแผนในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาตร์ให้เหมาะสมกับช่วงวัยและพัฒนาการของเด็ก วิทยาศาตร์เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันความหมาย ความสำคัญ และทักษะต่างๆที่ต้องจัดให้เด็ก
Apply (การนำมาประยุกต์ใช้)
นำทักษะทั้ง 7 ทักษะมาใช้ในการเรียนวิชาวิทยาศตร์และวิชาอื่นๆ สามารถนำทักษะเหล่านี้ไปใช้ได้ และนำทักษะต่างๆ เช่น ทักษะการ สังเกต การจำแนก มาประยุกต์ใช้วางแผนในการจัดประสบการณ์ที่เหมาะกับพัฒนาการของเด็ก
Technique (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
power point นำเสนอ และโทรศัพท์ในการค้นหาคำศัพท์และคำนิยามทางวิทยาศาตร์
Assesment (ประเมิน)
Our self : การตั้งใจเรียน ไปเรียนตรงตามเวลาที่กำหนด และมุ่งมั่นในการเรียน
Friend : ช่วยกันตอบคำถามและร่วมมือเป็นอย่างดี
Teacher
: ใช้การสอนที่เน้นการโต้ตอบ ใช้การสอนที่สนุกส่งผลให้นักศึกษามีรูปแบบการจำที่แม่นยำมากขึ้น
Classroom : อุปกรณ์ไม่ครบ ทำให้ยืดเวลาการเรียนการสอนไปนิดนึง